ความหมาย : สำนวนนี้ใช้เปรียบเทียบการกระทำให้เข้ากับสังคม เข้ากับสถานที่ แต่ละที่ที่ได้เข้าไปสัมผัส หรือผู้ คนที่คบหาสมาคม รู้จักการปรับตัวให้เข้ากับคนในแต่ละสังคม แต่ละที่ ไม่เช่นนั้นจะวางตัวลำบาก หรือไม่ได้รับการยอมรับ

ความหมาย : สำนวนนี้มักจะใช้เปรียบเทียบคนที่ไม่สามารถสอนอะไรได้ คนที่เอาแต่ตัวเอง เป็นที่ตั้ง ไม่ฟังใคร บอกอะไรไม่ฟัง เอาแต่ความคิดตัวเองเป็นใหญ่ พูดอะไรไป ก็เหมือนเข้าหูซ้าย ทะลุหูขวา เสียงวิ่งผ่านไป ไม่เข้าหัว

ความหมาย : สำนวนนี้ใช้พูดเปรียบเปรยกับคนที่เปลี่ยนตัวเองเมื่อต้องเข้ากลุ่ม เข้าสังคม หรือไปยังสถานที่ใด ก็จะเปลี่ยนตัวเอง ไม่มีความเป็นตัวของตัวเอง ซึ่งก็มีข้อดีข้อเสีย

ความหมาย : สำนวนนี้ใช้เปรียบเทียบการกระทำที่ถูกต้องตามจารีต ธรรมเนียม ประเพณี ค่านิยมของแต่ละ สังคมก็จะได้รับการยอมรับจากผู้คนในสังคมนั้นๆ หากทำผิด ก็จะเป็นผลเสียกับตัวเอง ไม่กล้าสู้หน้าคนอื่น หรือไม่ได้รับการให้ เกียรติ

ความหมาย : สำนวนนี้ใช้เปรียบเทียบกับสิ่งที่ดูดีภายนอก แต่ซ่อนความเน่า ความไม่ดีไว้ภายใน ที่อาจจะมองไม่เห็น แต่เฉพาะเจ้าตัวหรือคนใกล้ชิดเท่านั้นที่รู้ดีว่าสภาพที่แท้จริงเป็นอย่างไร

Sponsored Ads